พระศิวะมหาเทพ พระอิศวร เทพเจ้าผู้ทำลายล้างเพื่อการสร้างใหม่ 3 มหาเทพสูงสุด ตรีมูรติ

พระศิวะ (พระอิศวร) มหาเทพสูงสุดผู้เป็นใหญ่ ขอสิ่งใด ได้สิ่งนั้น

มหาเทพสูงสุด ผู้เป็นใหญ่ในจักรวาล ผู้ทำลายล้าง เพื่อการกำเนิดใหม่ หนึ่งใน ตรีมูรติ หรือ 3 มหาเทพสูงสุด พระศิวะมหาเทพสูงสุดของอินเดีย ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ผู้เป็นใหญ่ในจักรวาล หรือพระอิศวรที่ชาวไทยรู้จักกันดี เป็นพระบิดาของ พระพิฆเนศ มีพระชายานาม พระแม่อุมาเทวี พระศิวะทรงเป็นมหาเทพผู้เป็นใหญ่ในจักรวาล หนึ่งใน ตรีมูรติ หรือ 3 มหาเทพสูงสุดแห่งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ พระพรหม พระนารายณ์ (พระวิษณุ) และพระศิวะ (พระอิศวร)

พระแม่อุมาเทวี ปารวตี เทพีแห่งความสำเร็จ ธิดาแห่งขุนเขา มหาเทพเทวี พระชายาพระศิวะ (พระอิศวร)

พระแม่อุมาเทวี (พระปารวตี) หรือพระแม่ทุรคา มหาเทวีผู้ทรงอำนาจและเป็นใหญ่ในจักรวาล

พระแม่อุมาเทวี หรือ พระแม่ปารวตี หรือ พระแม่ทุรคาเทวีในศาสนาฮินดู เป็นเทวีเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน ตลอดจนพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่อทางลัทธิถือกันว่า พระนางเป็นด้านอ่อนโยนและเอาใจใส่ของศักติ พระนางยังอวตารเป็นหลายด้าน เรียกว่า “ปาง” ที่คุ้นเคยอวตารพระแม่อุมาเทวี มี 9 ปาง แต่ละปางเป็นที่รู้จักด้วยหลายชื่อหลายเรื่องราว พระแม่อุมาเป็น 1 ใน 3 ของพระตรีเทวี หรือพระตรีศักติ ซึ่งหมายถึงพระแม่ทั้งสาม (คือ พระแม่อุมา พระแม่ลักษมี และพระแม่สรัสวตี)

สวรรค์ 6 ชั้น เทวภูมิ ฉกามาพจร สังสารวัฏภูมิ 31 ภูมิ

สวรรค์ 6 ชั้น เทวภูมิเทวดา เรียกว่า ฉกามาพจร

ทางพุทธศาสนา เรื่องคติจักรวาลวิทยา ฉกามาพจร คือสวรรค์ 6 ชั้นที่อยู่ในกามภูมิ คือ สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตี สวรรค์ชั้นนิมมานรดี สวรรค์ชั้นดุสิต สวรรค์ชั้นยามา สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ และสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา หากนับรวมกับมนุษยภูมิ เรียกว่า กามสุคติภูมิ 7

ท้าวทั้งสี่ ท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 จีนเทพทั้งสี่ บูชาท้าวจาตุมหาราชา

ท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 จีน หรือ ซื่อต้าจินกัง (四大金刚) ท้าวจาตุมหาราชา หรือ เทพสี่ทิศ ผู้พิทักษ์พระพุทธศาสนา

ท้าวจตุโลกบาล จีน หรือ ซื่อต้าจินกัง (四大金刚) บ้างเรียกว่า ท้าวจาตุมหาราชา หรือ ซื่อต้าเทียนหวัง (四大天王) ในประเทศจีนตามคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 จีน หรือ ท้าวจาตุมหาราชา ทั้ง 4 เป็นมหาเทพผู้พิทักษ์พระพุทธศาสนา ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า “เทพสี่ทิศ” หรือ “ท้าวทั้งสี่”

ท้าวเวสสุวรรณโณ วัดจุฬามณี ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวจตุโลกบาล เทวดาประจำทิศเหนือ

ท้าวเวสสุวรรณ (ท้าวกุเวร) วัดจุฬามณี บารมีคุ้มครอง เรียกทรัพย์ มั่งคั่งร่ำรวย พร้อมคาถาบูชา

ท้าวเวสสุวรรณ (ท้าวกุเวร) หรือท้าวเวสุวรรณโณ วัดจุฬามณี คาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณโณ วัดจุฬามณี เรียกทรัพย์ อำนาจวาสนา บารมี เป็น 1 ใน 4 ของท้าวจตุโลกบาล ทำหน้าที่รักษาทิศทั้ง 4 ในสวรรค์ชั้นแรกบนสวรรค์ทั้ง 7 ชั้น โดยท่านเป็นเทวดาประจำทิศเหนือ คอยผู้ปกปักรักษาดูแลโลกมนุษย์ สถิตอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา เป็นเทพแห่งความมั่งคั่ง

พญามุจลินท์นาคราช พญานาคตระกูลตระกูลวิรูปักษ์ พญานาคประจำคนเกิดวันเสาร์

พญามุจลินท์นาคราช พญานาคชั้นพรหม เจ้าแห่งนาคภิภพ

พญามุจลินท์นาคราช หรือพ่อปู่มุจลินท์นาคราช เจ้าแห่งนาคภิภพ พญานาคราช ผู้บำเพ็ญฌานเลื่อมใสพระพุทธศาสนา ครอบครองมณีนาคา 7 ดวง พญนาคตระกูลวิรูปักษ์ มีพลังอำนาจและอิทธิฤทธิ์เหนือกว่าพญานาคในตระกูลอื่นๆ กำเนิดขึ้นแบบโอปปาติกะ

พญาอนันตนาคราช พญานาคราชตระกูลฉัพพะยาปุตตะ พญานาคประจำคนเกิดวันอาทิตย์

พญาอนันตนาคราช พญานาคปฐมชีวิตของการสร้างจักรวาล

พญาอนันตนาคราช หรือพ่อปู่อนันตนาคราช พญานาคผู้ยิ่งใหญ่เหนือนาคทั้งปวง เป็นพญานาคตระกูลฉัพพะยาปุตตะ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ อำนาจ และบารมี เป็นพญานาคราชประจำวันเกิดของคนเกิดวันอาทิตย์ พาหนะคู่บารมีขององค์พระนารายณ์มหาเทพ (พระวิษณุ)

พระแม่คงคา เทพีแห่งสายน้ำผู้ชำระล้างความชั่ว ขอพร ขอขมาพระแม่คงคา ประเพณีลอยกระทง

พระแม่คงคา เทพีแห่งสายน้ำ ผู้ชำระล้างความชั่ว

พระแม่คงคา เทพีแห่งสายน้ำ ผู้ชำระล้างความชั่ว เทพแห่งการให้อภัย และการทำให้บริสุทธิ์ ผู้กำเนิดจากแม่น้ำคงคา แมาน้ำศักดิ์สิทธิ์จากเขาไกลาสน์ ขอพร ขอขมา ประเพณีวันลอยกระทงของชาวไทย

พญานาคราช เทพแห่งทรัพย์สมบัติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์

พญานาค เจ้าแห่งทรัพย์สมบัติ บันดาลอิทธิฤทธิ์เรียกทรัพย์สินเงินทอง

พญานาคราช หรือพญานาค เป็นเจ้าแห่งทรัพย์สมบัติ มีอิทธิฤทธิ์เรียกทรัพย์สินเงินทอง เรียกโชคลาภ การบูชาพญานาคจะทำให้มั่งมีขึ้นโดยเร็วพลัน มีทรัพย์สินเงินทอง ร่ำรวยสมบัติทั้งหลายทั้งปวง มีโชคแบบไม่คาดคิด ไปแห่งหนใดประสบแต่ความสุขสวัสดี มีความร่มเย็นเป็นสุข พ้นจากภัยอันตราย

ช้างเอราวัณ ช้างทรงพระอินทร์ ช้างสามเศียร

ช้างเอราวัณ ช้างเผือกสามเศียร ผู้ทรงพลังอำนาจ พาหนะของพระอินทร์

ช้างเอราวัณ ช้างสามเศียร พาหนะของพระอินทร์ มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น ไอยราวัณ ไอราวัณ ไอราวัต ไอยราพต ไอยราวัต ในหนังสือวรรณคดีเรียกพญาช้างมงคลนี้ว่า เอราวัณเทพบุตร

Back to Top

ค้นหาพระ พระเครื่อง

พระเครี่องใส่ในย่ามพระแล้ว